Services
Comprehensive treatments for skin diseases and conditions
**This website can be translated into Thai and English only
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน พบมากในผู้สูงอายุ การเกิดขึ้นของกระเนื้อจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังตามอายุ
ปานที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดในผิวหนัง มี 2 ประเภทหลัก
1.Hemangiomas
2.Vascular Malformation
เนื่องจากบ้านเราอากาศค่อนข้างร้อนตลอดปี เมื่ออากาศร้อน อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น ทำให้ร่างกายขับเหงื่อออกมาเพื่อระบายความร้อน ทำให้เกิดผดผื่นผดร้อนเกิดจากการอุดตันของต่อมเหงื่อ ทำให้เกิดผื่นคันบริเวณหน้าผาก ซอกคอ ข้อพับแขนขา และหลัง
ลักษณะของผิวที่แพ้ง่ายกับทารกมีหลายรูปแบบ แต่ละอาการจะขึ้นกับอาการแพ้ที่เกิดขึ้น แต่ที่พบบ่อยก็คือ มีผื่นแดง ตุ่มน้ำ ตุ่มแดงคัน อาจพบมีน้ำเหลือง ขุยสะเก็ดและคันมาก เวลาเกาจะพบมีเลือดออกร่วมด้วยได้
การดูแลรักษาผิวของลูกน้อย
การอาบน้ำทารกแรกเกิด คุณแม่เตรียมอุปกรณ์อาบน้ำให้พร้อม ใช้หลังมือลองจุ่มในน้ำดู เพื่อไม่ให้อุณหภูมิของน้ำร้อนจนเกินไป อาจมีเบาะเล็กๆไว้รองเวลาเช็ดตัว การเลือกครีมอาบน้ำ ควรเลือกใช้ครีมอาบน้ำสำหรับเด็ก เพราะผิวของลูกอ่อนบางและระคายเคืองได้ง่าย
เริ่มจากการป้องกันผิว ก่อนออกกลางแจ้ง ควรเลือกใช้ครีมกันแดดที่มีค่า SPF ค่อนข้างสูง คือ SPF 50 – 60 และ ควรมีค่า PA+++ จึงจะป้องกันได้ทั้ง รังสี UV A และ UV B หลายคนเข้าใจผิดว่าการทาครีมกันแดดจะช่วยป้องกันแสงแดดได้ตลอดทั้งวัน แท้ที่จริงแล้ว ควรจะทาซ้ำ ทุก 2-3 ชั่วโมงหากออกแดดบ่อย เพราะเหงื่อ อาจพาครีมกันแดดที่ทาให้หลุดลอกออกไป รวมทั้งวิธีป้องกันง่ายๆที่สามารถทำได้ คือการหาเกราะกำบังจากเครื่องนุ่งห่ม เช่น การสวมเสื้อผ้าปกปิดแขนขา รวมทั้ง กางร่มปองกัน UV เมื่ออกแดดจัด
ครีมกันแดด ซึ่งควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
- สามารถป้องกันได้ทั้งรังสี UVA และ UVB
- ควรมีค่า SPF 40 - 60 และ PA++ ถึง +++
HPV คือเชื้อไวรัสที่ทำให้เกิด หูด ตามร่างกาย และยังเป็นสาเหตุของมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งปากมดลูก มะเร็งทวารหนัก และมะเร็งช่องปาก
มะเร็งผิวหนังที่พบได้บ่อย มี 3 ประเภท อันได้แก่
1. Squamous Cell Carcinoma
2.Babac Cell Carcinoma
3.Melanoma
สาเหตุที่พบบ่อย:
ภายหลังไข้หรือไวรัส (Post-viral desquamation) – มักเกิดหลังจากเด็กเป็นไข้ เช่น ไข้หวัด หรือโรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก (Hand, Foot and Mouth Disease) – ผื่นหรือแผลพุพองแล้วตามด้วยการลอกของผิวหนัง
ผิวแห้งหรือระคายเคือง – จากสบู่ แอลกอฮอล์ หรือการล้างมือบ่อยเกินไป
ขาดวิตามินบางชนิด – เช่น วิตามิน A, B3 (ไนอาซิน), B7 (ไบโอติน)
โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic dermatitis)
ตุ่มนูน สีเนื้อหรือชมพู ขนาดเล็ก มีลักษณะมันวาว มีหลุมตรงกลางคล้ายสะดือ พบได้ที่ใบหน้า ลำตัว แขนขา หรืออวัยวะเพศ